ฮิวมัสล้านปี อินทรีย์แม่เมาะ

โพสต์ยอดนิยม

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

ฮิวมัส ล้านปี ลีโอนาร์ไดท์ แม่เมาะ บ่อกุ้ง0884159468



ลีโอนาร์ไดด์ (leonadite)

ลีโอนาร์ไดด์ (leonadite) : เป็นชั้นดินปนถ่านหินที่ถูกออกซิไดส์ตามธรรมชาติ มีลักษณะนุ่มไม่แข็งตัว ปกติพบอยู่ในปหล่งถ่านหินที่มีความลึกไม่มาก ประกอบด้วย "กรดฮิวมิค" และกรดอินทรีย์อื่นๆ ดินปนถ่านหินนี้เกิดจากการผุพังสลายตัวของซากพืลซากสัตว์ ด้วยกระบวนการทางเคมีและชีวภาพ

ลีโอนาร์ไดด์ (leonadite) มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบถึง 30-35 เปอร์เซ็นต์ ส่วนลิกไนต์มีเพียง 25-30 เปอร์เซ็นต์

ลีโอนาร์ไดด์ เกิดจากการผุพังตามธรรมชาติของถ่านหินชนิด ลิกไนต์ (Lignite) โดยพบว่าส่วนใหญ่เป็นสารประกอบของ
"ฮิวมัส" (Humus)
" กรดฟูลวิค" (Fulvic acid)
" กรดฮิวมิค" (Humic acid) และฮิวมีน (Humin)
หรือเรียกรวมว่า "สารฮิวมิค" (Humic Substances)

วัสดุเหล่านี้ใช้เป็นตัวให้กรดฮิวมิค มีการนำไปใช้ในการปรับปรุงดินเพื่อการเกษตรกรรม และการฟื้นฟูพื้นที่

ดินปนถ่านหินนี่้เกิดจากการผุพังสลายตัวของซากพืช ซากสัตว์ด้วยกระบวนการทางเคมี และชีวภาพ

สมบัติทางกายภาพ
กรดฮิวมิค จะรักษาโครงสร้างของดินให้อุ้มน้ำและระบายอากาศได้ดี ในอนุภาคของดินที่มีความเป็นดินเหนียวสูงจะมีประจุบวก และประจุลบอยู่อย่างหนาแน่น
ทำให้มีแรงยึดเหนี่ยวสูง จึงส่งผลให้ดินมีความละเอียดและความหนาแน่นมาก ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญต่อระบบรากของพืชที่จะดูดซึมแร่ธาตุอาหารและน้ำ

สมบัติทางเคมี
กรดฮิวมิค มีประสิทธิภาพในการดูดซับธาตุอาหาร เพื่อที่จะปลดปล่อยธาตุอาหารเหล่านั้นให้แก่พืช เพื่อที่จะได้นำสารอาหารเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การออกดอกออกผล

กล่าวคือ กรดฮิวมิค สามารถยึดประจุบวกของธาตุอาหารเสริมภายใต้สภาวะหนึ่งและจะปลดปล่อยธาตุอาหารเหล่านั้นเมื่อสภาวะเปลี่ยนไป

ด้วยคุณสมบัตินี้ เมื่อ กรดฮิวมิค เคลื่่อนที่เข้าไปใกล้บริเวณรากของพืช ซึ่งระบบรากพืชจะมีประจุลบ พวกธาตุอาหารเสริมเหล่านั้นก็จะถูกปล่อยจากโมเลกุลของ กรดฮิวมิค เข้าไปสู่ระบบรากพืช

ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า กรดฮิวมิค มีความสำคัญอย่างมากในการเป็นสื่อกลางการลำเลียงธาตุอาหารจากดินไปสู่รากพืช

แต่เดิมการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยเหมืองแม่เมาะ ได้นำเอามูลดินปนถ่านหินนำไปใช้ประโยชน์ในการฝังกลบพื้นที่ที่ต้องการ หรือไม่ก็ถูกทิ้งอย่างไร้ค่าเท่านั้น

ในปี พ.ศ. 2551 ทางทีมผู้วิจัยของเหมือง พบว่าในตัวมูลดินปนถ่านหิน ที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ลีโอนาร์ไดด์ (leonadite) " มีองค์ประกอบที่เป็นประโยชน์ในทางเกษตรอย่างมาก

ที่มา เอกสารงานวิจัย : การเตรียมสารประกอบเกลือฮิวเมตจากดินปนถ่านหินจากเหมืองลิกไนต์แม่เมาะ จังหวัดลำปาง
วิวัฒน โตธิรกุล , พลยุทธ ศุขสมิต สํานักงานอุตสาหกรรมพนฐานและการเหมืองแรเขต 3 (ภาคเหนือ) กรมอุตสาหกรรมพนฐานและการเหมืองแร่กระทรวงอุตสาหกรรม
จินดารัตน โตกมลธรรม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี



ฮิวมันล้านปี  ลีโอนาร์ไดท์ ( ในนาม ฮิวมัสลายคราม )
ใช้กับมันสำปะหลัง เชียงใหม่


                               


ใช้กับผักกาที่ อ.แม่วาง ชาวบ้านตกใจ



ใช้กับองุ่นที่จังหวัดลำพูน


ใช้กับดอกไม้ทุกชนิด












                                 


                                 




🦐🦞🦞🦞🦞🦞🦞🦞🦐

สารปรับสภาพน้ำ บ่อกุ้ง
บ่อปลา และน้ำเสีย
                      บ่อกุ้ง แก้เรื่องโรคกุ้งขี้ขาว กุ้งแข็งแรง ลอกคาบได้ดีเป็นที่น่าพอใจ รับประกันคุณภาพ
                       บรรจุกระสอบละ 25 กิโล ราคากระสอบละ 500 บาทหน้าโรงงาน 
      

🦐🦞🦞🦞🦞🦞🦞🦞✌🦞🦞🦞🦞🦞🦞🦞🦐

   ท่านสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ 

โทร : 088  415  9468
ID Line  : 0884159468non
   E-mail   : cmenzymenano@gmail.com 



ฮิวมัสล้านปี อินทรีย์แม่เมาะ

ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย
ฮิวมัส (humus)
              เป็นภาษาละติน แปลว่าดิน(soil) คือสารอินทรีย์ในดินที่ทำให้ดินมีสีน้ำตาลหรือดำเนื่องจากมีปริมาณธาตุคาร์บอนในรูปของสารอินทรีนย์ในปริมาณที่สูงมาก
ในทางวิทยาศาสตร์เรื่องดิน ฮิวมัสหมายถึงอินทรีย์วัตถุใดๆก็ได้ที่เข้าสู่สภาวะเสถียรอยู่ตัวและจะไม่แตกตัวต่อไปอีก ถ้าสภาวะไม่เปลี่ยนแปลง จะยังคงสภาพเช่นนั้นตลอดไปเป็นร้อยๆปี
ในทางเกษตรกรรม ฮิวมัสเป็นคำที่ใช้กล่าวถึงปุ๋ยหมักที่ครบกำหนดหรือปุ๋ยหมักที่คัดแยกออกมาจากแหล่งที่เกิดขึ้นเองในป่าหรือแหล่งอื่นๆและใช้สำหรับเป็นวัตถุบำรุงดิน นอกจากนั้นฮิวมัสยังใช้กล่าวถึงผิวดินในแนวระนาบที่มีอินทรีย์วัตถุอยู่ด้วย(เช่นชนิดของฮิวมัส รูปแบบของฮิวมัส เรื่องโดยย่อของฮิวมัส เป็นต้น)

การเกิดฮิวมัส  ( HUMIFICATION )
               กระบวนการเกิดฮิวมัสสามารถเกิดตามธรรมชาติในดินหรือในการผลิตปุ๋ยหมักก็ได้  ฮิวมัสที่เสถียรตามคุณสมบัติทางเคมี เชื่อว่าเป็นสิ่งสำคัญในความอุดมสมบูรณ์ของดินทั้งในด้านฟิสิคซ์และเคมี แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรจะมุ่งประเด็นส่วนใหญ่ไปในด้านการเป็นอาหารให้แก่พืชก็ตาม  โดยทางกายภาพแล้วฮิวมัสช่วยให้ดินยังคงความชื้นและช่วยให้มีการก่อตัวของโครงสร้างดินที่ดี  ทางด้านเคมี ฮิวมัสมีแหล่งสารออกฤทธิ์ซึ่งสามารถผนวกกับไอออนของธาตุอาหารพืชทำให้กลายเป็นธาตุอาหารพร้อมใช้ได้มากขึ้น ฮิวมัสจึงมักถูกเรียกว่าเป็นพลังชีวิตของดิน ถึงกระนั้นก็ดียังเป็นเรื่องยากที่จะให้นิยามที่ชัดเจนแก่คำว่าฮิวมัสนี้ได้  เนื่องจากเป็นสารที่มีความซับซ้อนสูง ธรรมชาติที่แท้จริงของสารนี้จึงยังคงเป็นเรื่องที่ยังไม่อาจเข้าใจได้อย่างถ่องแท้  ในทางกายภาพฮิวมัสแตกต่างจากอินทรีย์วัตถุตรงที่อินทรีย์วัตถุเป็นสารที่มีลักษณะภายนอกหยาบ และมีเศษซากพืชให้ สังเกตเห็นได้  แต่เมื่อผ่านกระบวนการเกิดฮิวมัสอย่างเต็มที่แล้วก็จะกลายเป็นฮิวมัส สารที่มีรูปแบบอย่างเดียวกันมากขึ้น (เป็นสารสีเข้ม นุ่มคล้ายฟองน้ำ อ่อนตัวคล้ายวุ้นและมีโครงสร้างไร้รูปแบบที่แน่นอน
                ซากพืช(รวมทั้งที่ถูกสัตว์กินเข้าไปและถ่ายออกมาในรูปของมูลสัตว์ด้วย)จะประกอบด้วยสารประกอบอินทรีย์ต่างๆดังนี้:  น้ำตาล  แป้ง โปรตีน  คาร์โบไฮเดรต  ลิกนิน(lignins)  ขี้ผึ้ง(waxes) ยางไม้(resins) ไขมัน และกรดอินทรีย์ต่างๆ กระบวนการเน่าเปื่อยของสารอินทรีย์ในดินจะเริ่มด้วยการย่อยสลายของน้ำตาลและแป้งจากคาร์โบไฮเดรตซึ่งเป็นการย่อยอย่างง่ายๆด้วยจุลินทรีย์(Saprothrophs)ชนิดที่ดำรงชีพ อยู่บนซากสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้วเท่านั้น ส่วนเซลลูโลซ(cellulose)จะแตกตัวอย่างช้าๆมาก โปรตีนจะถูกย่อยสลายไปเป็นกรดอะมิโน(amino acid)ตามอัตราส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจน(C/N ratio)ที่มีอยู่ ณ ที่นั้น   ส่วนกรดอินทรีย์หลายชนิดจะสลายตัวอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ไขมัน ขี้ผึ้ง  เรซินหรือยางไม้และลิกนินจะยังคงสภาพไม่เปลี่ยนแปลงเป็นเวลาที่ยาวนานกว่า ฮิวมัสซึ่งเป็นผลผลิตสุดท้ายที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนี้ก็คือสารผสมระหว่างสารประกอบและสารเคมีเชิงซ้อนที่มีอยู่ตลอดชีวิตของ พืช  สัตว์ หรือ ต้นกำเหนิดแห่งจุลชีพ ฮิวมัสยังทำหน้าที่และให้คุณประโยชน์มากมายในดิน ฮิวมัสที่ได้จากไส้เดือนดินหรือปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินที่ครบกำหนดได้รับการพิจารณาว่าเป็นมูลอินทรีย์ที่ดีที่สุดที่มีอยู่ในปัจจุบัน
  การเกิดฮิวมัสจากเศษซากใบไม้และการเกิดสารเชิงซ้อนฮิวมัส-ดินเหนียว
(Humification of leaf litter and formation of clay-humus complexes)
                   ปุ๋ยหมักที่พร้อมจะย่อยสลายต่อไปได้อีกบางครั้งก็ถูกจัดว่าเป็นฮิวมัสที่มีประสิทธิภาพหรือสามารถออกฤทธิ์ได้แม้ว่านักวิทยาศาสตร์จะกล่าวว่ามันยังไม่เสถียรย่อมไม่ใช่ฮิวมัส  ปุ๋ยหมักประเภทนี้โดยหลักการแล้วมีที่มาจากน้ำตาล  แป้ง และโปรตีนและประกอบขึ้นด้วยกรดอินทรีย์ง่ายๆคือกรดฟุลวิค (Fulvic acid) ซึ่งเป็นแหล่งที่มาของอาหารพืชชั้นเยี่ยมแต่มีคุณค่าเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับโครงสร้างของดินระยะยาว ส่วนฮิวมัสที่เสถียรประกอบด้วยกรดฮิวมิค(humic acid)และฮิวมิน(humin)หรืออีกนัยหนึ่งคือเป็นสารที่ละลายได้ยาก(หรือถูกยึดติดอยู่อย่างเหนียวแน่นกับอนุภาคของดินเหนียวทำให้จุลินทรีย์ไม่อาจเข้าถึงได้)จึงมีความต้านทานต่อการย่อยสลายในลำดับขั้นต่อๆไป ดังนั้นฮิวมัสที่เสถียรแล้วจึงเป็นตัวเพิ่มธาตุอาหารพร้อมใช้ที่มีอยู่แล้วจำนวนเล็กน้อยให้แก่ดินแต่มีบทบาทสำคัญในการรักษโครงสร้างทางกายภาพของดิน ฮิวมัสเชิงซ้อนบางตัวที่เสถียรมากๆสามารถคงสภาพอยู่ได้นับพันๆปี ฮิวมัสที่เสถียรมักมีแหล่งกำเหนิดมาจากวัสดุที่เกิดจากพืชไม้เนื้อแข็งเช่น เซลลูโลส(cellulose)และลิกนิน(lignin)  สัตว์ที่ช่วยเพิ่มเนื้อดินโดยทำหน้าที่ย่อยพืชที่กินเข้าไปแล้วแปรสภาพไปเป็นอินทรีย์วัตถุในลำไส้นั้นก็จัดเป็นตัวการสำคัญในการก่อฮิวมัส(humifiation)โดยทำงานร่วมกับราและแบคทีเรียฮิวมัสส่วนใหญ่ในดินได้แก่มูลสัตว์ซึ่งอาจมีสีเข้มหรือจางเป็นไปตามปริมาณของอินทรีย์วัตถุที่มี
 ประโยชน์ของฮิวมัส (Benefit of humus)
1. กระบวนการเกิดแร่ธาตุ (คือการเกิดสารอนินทรีย์จากสารอินทรีย์ตามธรรมชาติทำให้อินทรีย์วัตถุแปลสภาพไปเป็นสารที่เสถียรมากขึ้นกว่าเดิมคือฮิวมัส ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นอาหารเลี้ยงบรรดาสิ่งที่มีชัวิตทั้งหลายในดินตั้งแต่จุลินทรีย์ไปจนถึงสัตว์เล็กอื่นๆที่อาศัยอยู่ ดังนั้นจึงเป็นการรักษาอายุของดินให้อยู่ในระดับที่สมบูรณ์เต็มที่
2. อัตราการเปลี่ยนอินทรีย์วัตถุไปเป็นฮิวมัสถ้าดำเนินไปอย่างรวดเร็วก็จะเกื้อประโยชน์ของการอยู่ร่วมกันของ พืช และสัตว์รวมทั้งจุลินทรีย์ตามระบบนิเวศวิทยาของโลกในทำนองกลับกันถ้าอัตราการเปลี่ยนนั้นเป็นไปอย่างเชื่องช้าประโยชน์ของการอยู่ร่วมกันดังกล่าวก็จะลดลง
3. อิวมัสที่มีประสิทธิภาพ และเสถียร ทำหน้าที่เป็นแหล่งอาหารเพื่อการดำรงชีพต่อไปของจุลินทรีย์ ประสิทธิภาพของฮิวมัสคือการเป็นอาหารพร้อมใช้ ส่วนความเสถียรของฮิวมัสคือการเป็นแหล่งอาหารสำรองระยะยาว
4. การเกิดฮิวมัสจากวัสดุที่ได้จากพืชที่ตายแล้วทำให้สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนที่เกิดขึ้นถูกย่อยสลายหรือแตกตัวไปเป็นสารอินทรีย์พร้อมใช้ในรูปแบบที่ง่ายต่อการดูดซึมผ่านรากพืชที่กำลังจะเจริญเติบโต
5. ฮิวมัสเป็นสารประเภทคอลลอยด์(คือสสารในสถานะต่างๆที่ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมาก--เป็นอนุภาคที่มีขนาดตั้งแต่ 1ถึง100 นาโนเมตรซึ่งจะสามารถแขวนลอยในน้ำและเป็นเนื้อเดียวกัน เช่นน้ำนมเป็นต้น(จากพจนานุกรมอักฤษ-ไทย Se-Ed New Compact English DictionaryMillennium2000Edition, และTaber’sCylopedic Medical Dictionary)และฮิวมัสจะช่วยเพิ่มศักยภาพในการแลกเปลี่ยนไอออนที่มีประจุบวก(Cation)จึงทำให้ไอออนดังกล่าวมีความสามารถในการเก็บอาหารโดยวิธียึดธาตุอาหารติดไว้กับตัวมันเช่นเดียวกับที่อณุภาคของดินเหนียวจะพึงกระทำ ดังนั้นในขณะที่พวกไอออนประจุบวกที่มีธาตุอาหารเหล่านี้หาทางเข้าสู่พืชได้ก็จะยังสามารถอยู่ในดินได้อย่างปลอดภัยจากการชะล้างด้วยน้ำฝนหรือการชลประทาน
6. ฮิวมัสสามารถรักษาคุณสมบัติให้มีความชื้นคงที่อยู่ที่80-90% ได้ดังนั้นจึงสามารถเพิ่มศักย์ภาพให้ทนต่อสภาวะแห้งแล้งได้
7. ด้วยโครงสร้างทางชีวะเคมีทำให้ฮิวมัสสามารถรักษาความเป็นกลาง---หรือเป็นตัวกันชน---ช่วยลดความเป็นกรดด่างที่มากเกินในดินได้
8. ระหว่างที่มีการเกิดฮิวมัส จุลินทรีย์ จะหลั่งสารที่มีลักษณะเป็นยางเหนียวซึ่งช่วยให้โครงสร้างของดินที่กระจายตัวยึดอนุภาคต่างๆเข้าด้วยกัน ทำให้ดินร่วนและโปร่งอากาศ สารพิษเช่นธาตุโลหะหนักต่างๆ และธาตุอาหารที่มากเกินใช้ของพืชจะถูกกันไม่ให้เกิดพิษร้ายหรือออกฤทธิ์ได้โดยวิธีผนวกเข้ากับโมเลกุลสารอินทรีย์เชิงซ้อนของฮิวมัสและขณะเดียวกันก็ช่วยป้องกันไม่ให้สารดังกล่าวแพร่เข้าสู่ระบบนิเวศที่กว้างออกไปกว่าเดิม
9. สารสีเข้มของฮิวมัส(โดยปกติจะมีสีดำหรือน้ำตาลดำ)ช่วยให้ดินอุ่นขึ้นในฤดูใบไม้ผลิ
เอกสารอ้างอิง:
HUMUS: 2008/9 Schools Wikipedia Slection. Related subjects :Geology and geophysics
Retrieved from “ http://en. Wikipedia.org/wiki/Humus”





ฮิวมัสล้านปี ลีโอนาร์ไดท์  
มีแร่ Leonardite  มากกว่า 60%  เป็นสารปรับปรุงบำรุงดิน สามารถใช้ได้กับพืชทุกชนิด  โดยเฉพาะนาข้าว รับรองเพิ่มจากเดิม และจะเพิ่มขึ้นทุกปี  มะม่วง มะนาว ลำใย และไม้ผลทุกชนิด เป็นที่พิสูจน์กันมาแล้ว 4 ปีกว่า ในนามของ " ฮิวมัส ลายคราม "  เพื่อเป็นการเปิดตัว ชื่อใหม่ของ " ฮิวมัสล้านปี ลีโอนาร์ไดท์"  ท่านสามารถสั่งจองได้ในราคา 5000 บาท/ ตัน   กระสอบละ 25 กิโล 40 กระสอบ ตกกระสอบละ 125 บาท หน้าโรงงาน  เพื่อเป็นการลดต้นทุนให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ ได้ผลผลิตที่ปลอดจากสารเคมีที่ตกค้าง เพื่อสุขภาพของเกษตรกรเอง  

ต้องการตัวแทนจำหน่ายทั่วประเทศ 



                               ท่านสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ 


โทร      : 088  415  9468

ID Line  : 0884159468non
                           E-mail : cmenzymenano@gmail.com 





สารปรับปรุงบำรุงดิน


ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย





















                     สารปรับสภาพน้ำ บ่อกุ้ง
บ่อปลา และน้ำเสีย
                      บ่อกุ้ง แก้เรื่องโรคกุ้งขี้ขาว กุ้งแข็งแรง ลอกคาบได้ดีเป็นที่น่าพอใจ รับประกันคุณภาพ
                       บรรจุกระสอบละ 25 กิโล ราคากระสอบละ 500 บาทหน้าโรงงาน 
            

ท่านสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ 


โทร 

088  415  946
093 593 9859

ID Line  

0884159468non
               
                     E-mail cmenzymenano@gmail.com 


วันพุธที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Humus0001


ฮิวมัส (humus)

              เป็นภาษาละติน แปลว่าดิน(soil) คือสารอินทรีย์ในดินที่ทำให้ดินมีสีน้ำตาลหรือดำเนื่องจากมีปริมาณธาตุคาร์บอนในรูปของสารอินทรีนย์ในปริมาณที่สูงมาก
ในทางวิทยาศาสตร์เรื่องดิน ฮิวมัสหมายถึงอินทรีย์วัตถุใดๆก็ได้ที่เข้าสู่สภาวะเสถียรอยู่ตัวและจะไม่แตกตัวต่อไปอีก ถ้าสภาวะไม่เปลี่ยนแปลง จะยังคงสภาพเช่นนั้นตลอดไปเป็นร้อยๆปี
ในทางเกษตรกรรม ฮิวมัสเป็นคำที่ใช้กล่าวถึงปุ๋ยหมักที่ครบกำหนดหรือปุ๋ยหมักที่คัดแยกออกมาจากแหล่งที่เกิดขึ้นเองในป่าหรือแหล่งอื่นๆและใช้สำหรับเป็นวัตถุบำรุงดิน นอกจากนั้นฮิวมัสยังใช้กล่าวถึงผิวดินในแนวระนาบที่มีอินทรีย์วัตถุอยู่ด้วย(เช่นชนิดของฮิวมัส รูปแบบของฮิวมัส เรื่องโดยย่อของฮิวมัส เป็นต้น)
การเกิดฮิวมัส  ( HUMIFICATION )
               กระบวนการเกิดฮิวมัสสามารถเกิดตามธรรมชาติในดินหรือในการผลิตปุ๋ยหมักก็ได้  ฮิวมัสที่เสถียรตามคุณสมบัติทางเคมี เชื่อว่าเป็นสิ่งสำคัญในความอุดมสมบูรณ์ของดินทั้งในด้านฟิสิคซ์และเคมี แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรจะมุ่งประเด็นส่วนใหญ่ไปในด้านการเป็นอาหารให้แก่พืชก็ตาม  โดยทางกายภาพแล้วฮิวมัสช่วยให้ดินยังคงความชื้นและช่วยให้มีการก่อตัวของโครงสร้างดินที่ดี  ทางด้านเคมี ฮิวมัสมีแหล่งสารออกฤทธิ์ซึ่งสามารถผนวกกับไอออนของธาตุอาหารพืชทำให้กลายเป็นธาตุอาหารพร้อมใช้ได้มากขึ้น ฮิวมัสจึงมักถูกเรียกว่าเป็นพลังชีวิตของดิน ถึงกระนั้นก็ดียังเป็นเรื่องยากที่จะให้นิยามที่ชัดเจนแก่คำว่าฮิวมัสนี้ได้  เนื่องจากเป็นสารที่มีความซับซ้อนสูง ธรรมชาติที่แท้จริงของสารนี้จึงยังคงเป็นเรื่องที่ยังไม่อาจเข้าใจได้อย่างถ่องแท้  ในทางกายภาพฮิวมัสแตกต่างจากอินทรีย์วัตถุตรงที่อินทรีย์วัตถุเป็นสารที่มีลักษณะภายนอกหยาบ และมีเศษซากพืชให้ สังเกตเห็นได้  แต่เมื่อผ่านกระบวนการเกิดฮิวมัสอย่างเต็มที่แล้วก็จะกลายเป็นฮิวมัส สารที่มีรูปแบบอย่างเดียวกันมากขึ้น (เป็นสารสีเข้ม นุ่มคล้ายฟองน้ำ อ่อนตัวคล้ายวุ้นและมีโครงสร้างไร้รูปแบบที่แน่นอน
                ซากพืช(รวมทั้งที่ถูกสัตว์กินเข้าไปและถ่ายออกมาในรูปของมูลสัตว์ด้วย)จะประกอบด้วยสารประกอบอินทรีย์ต่างๆดังนี้:  น้ำตาล  แป้ง โปรตีน  คาร์โบไฮเดรต  ลิกนิน(lignins)  ขี้ผึ้ง(waxes) ยางไม้(resins) ไขมัน และกรดอินทรีย์ต่างๆ กระบวนการเน่าเปื่อยของสารอินทรีย์ในดินจะเริ่มด้วยการย่อยสลายของน้ำตาลและแป้งจากคาร์โบไฮเดรตซึ่งเป็นการย่อยอย่างง่ายๆด้วยจุลินทรีย์(Saprothrophs)ชนิดที่ดำรงชีพ อยู่บนซากสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้วเท่านั้น ส่วนเซลลูโลซ(cellulose)จะแตกตัวอย่างช้าๆมาก โปรตีนจะถูกย่อยสลายไปเป็นกรดอะมิโน(amino acid)ตามอัตราส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจน(C/N ratio)ที่มีอยู่ ณ ที่นั้น   ส่วนกรดอินทรีย์หลายชนิดจะสลายตัวอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ไขมัน ขี้ผึ้ง  เรซินหรือยางไม้และลิกนินจะยังคงสภาพไม่เปลี่ยนแปลงเป็นเวลาที่ยาวนานกว่า ฮิวมัสซึ่งเป็นผลผลิตสุดท้ายที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนี้ก็คือสารผสมระหว่างสารประกอบและสารเคมีเชิงซ้อนที่มีอยู่ตลอดชีวิตของ พืช  สัตว์ หรือ ต้นกำเหนิดแห่งจุลชีพ ฮิวมัสยังทำหน้าที่และให้คุณประโยชน์มากมายในดิน ฮิวมัสที่ได้จากไส้เดือนดินหรือปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินที่ครบกำหนดได้รับการพิจารณาว่าเป็นมูลอินทรีย์ที่ดีที่สุดที่มีอยู่ในปัจจุบัน
  การเกิดฮิวมัสจากเศษซากใบไม้และการเกิดสารเชิงซ้อนฮิวมัส-ดินเหนียว
(Humification of leaf litter and formation of clay-humus complexes)
                   ปุ๋ยหมักที่พร้อมจะย่อยสลายต่อไปได้อีกบางครั้งก็ถูกจัดว่าเป็นฮิวมัสที่มีประสิทธิภาพหรือสามารถออกฤทธิ์ได้แม้ว่านักวิทยาศาสตร์จะกล่าวว่ามันยังไม่เสถียรย่อมไม่ใช่ฮิวมัส  ปุ๋ยหมักประเภทนี้โดยหลักการแล้วมีที่มาจากน้ำตาล  แป้ง และโปรตีนและประกอบขึ้นด้วยกรดอินทรีย์ง่ายๆคือกรดฟุลวิค (Fulvic acid) ซึ่งเป็นแหล่งที่มาของอาหารพืชชั้นเยี่ยมแต่มีคุณค่าเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับโครงสร้างของดินระยะยาว ส่วนฮิวมัสที่เสถียรประกอบด้วยกรดฮิวมิค(humic acid)และฮิวมิน(humin)หรืออีกนัยหนึ่งคือเป็นสารที่ละลายได้ยาก(หรือถูกยึดติดอยู่อย่างเหนียวแน่นกับอนุภาคของดินเหนียวทำให้จุลินทรีย์ไม่อาจเข้าถึงได้)จึงมีความต้านทานต่อการย่อยสลายในลำดับขั้นต่อๆไป ดังนั้นฮิวมัสที่เสถียรแล้วจึงเป็นตัวเพิ่มธาตุอาหารพร้อมใช้ที่มีอยู่แล้วจำนวนเล็กน้อยให้แก่ดินแต่มีบทบาทสำคัญในการรักษโครงสร้างทางกายภาพของดิน ฮิวมัสเชิงซ้อนบางตัวที่เสถียรมากๆสามารถคงสภาพอยู่ได้นับพันๆปี ฮิวมัสที่เสถียรมักมีแหล่งกำเหนิดมาจากวัสดุที่เกิดจากพืชไม้เนื้อแข็งเช่น เซลลูโลส(cellulose)และลิกนิน(lignin)  สัตว์ที่ช่วยเพิ่มเนื้อดินโดยทำหน้าที่ย่อยพืชที่กินเข้าไปแล้วแปรสภาพไปเป็นอินทรีย์วัตถุในลำไส้นั้นก็จัดเป็นตัวการสำคัญในการก่อฮิวมัส(humifiation)โดยทำงานร่วมกับราและแบคทีเรียฮิวมัสส่วนใหญ่ในดินได้แก่มูลสัตว์ซึ่งอาจมีสีเข้มหรือจางเป็นไปตามปริมาณของอินทรีย์วัตถุที่มี
 ประโยชน์ของฮิวมัส (Benefit of humus)
1. กระบวนการเกิดแร่ธาตุ (คือการเกิดสารอนินทรีย์จากสารอินทรีย์ตามธรรมชาติทำให้อินทรีย์วัตถุแปลสภาพไปเป็นสารที่เสถียรมากขึ้นกว่าเดิมคือฮิวมัส ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นอาหารเลี้ยงบรรดาสิ่งที่มีชัวิตทั้งหลายในดินตั้งแต่จุลินทรีย์ไปจนถึงสัตว์เล็กอื่นๆที่อาศัยอยู่ ดังนั้นจึงเป็นการรักษาอายุของดินให้อยู่ในระดับที่สมบูรณ์เต็มที่
2. อัตราการเปลี่ยนอินทรีย์วัตถุไปเป็นฮิวมัสถ้าดำเนินไปอย่างรวดเร็วก็จะเกื้อประโยชน์ของการอยู่ร่วมกันของ พืช และสัตว์รวมทั้งจุลินทรีย์ตามระบบนิเวศวิทยาของโลกในทำนองกลับกันถ้าอัตราการเปลี่ยนนั้นเป็นไปอย่างเชื่องช้าประโยชน์ของการอยู่ร่วมกันดังกล่าวก็จะลดลง
3. อิวมัสที่มีประสิทธิภาพ และเสถียร ทำหน้าที่เป็นแหล่งอาหารเพื่อการดำรงชีพต่อไปของจุลินทรีย์ ประสิทธิภาพของฮิวมัสคือการเป็นอาหารพร้อมใช้ ส่วนความเสถียรของฮิวมัสคือการเป็นแหล่งอาหารสำรองระยะยาว
4. การเกิดฮิวมัสจากวัสดุที่ได้จากพืชที่ตายแล้วทำให้สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนที่เกิดขึ้นถูกย่อยสลายหรือแตกตัวไปเป็นสารอินทรีย์พร้อมใช้ในรูปแบบที่ง่ายต่อการดูดซึมผ่านรากพืชที่กำลังจะเจริญเติบโต
5. ฮิวมัสเป็นสารประเภทคอลลอยด์(คือสสารในสถานะต่างๆที่ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมาก--เป็นอนุภาคที่มีขนาดตั้งแต่ 1ถึง100 นาโนเมตรซึ่งจะสามารถแขวนลอยในน้ำและเป็นเนื้อเดียวกัน เช่นน้ำนมเป็นต้น(จากพจนานุกรมอักฤษ-ไทย Se-Ed New Compact English DictionaryMillennium2000Edition, และTaber’sCylopedic Medical Dictionary)และฮิวมัสจะช่วยเพิ่มศักยภาพในการแลกเปลี่ยนไอออนที่มีประจุบวก(Cation)จึงทำให้ไอออนดังกล่าวมีความสามารถในการเก็บอาหารโดยวิธียึดธาตุอาหารติดไว้กับตัวมันเช่นเดียวกับที่อณุภาคของดินเหนียวจะพึงกระทำ ดังนั้นในขณะที่พวกไอออนประจุบวกที่มีธาตุอาหารเหล่านี้หาทางเข้าสู่พืชได้ก็จะยังสามารถอยู่ในดินได้อย่างปลอดภัยจากการชะล้างด้วยน้ำฝนหรือการชลประทาน
6. ฮิวมัสสามารถรักษาคุณสมบัติให้มีความชื้นคงที่อยู่ที่80-90% ได้ดังนั้นจึงสามารถเพิ่มศักย์ภาพให้ทนต่อสภาวะแห้งแล้งได้
7. ด้วยโครงสร้างทางชีวะเคมีทำให้ฮิวมัสสามารถรักษาความเป็นกลาง---หรือเป็นตัวกันชน---ช่วยลดความเป็นกรดด่างที่มากเกินในดินได้
8. ระหว่างที่มีการเกิดฮิวมัส จุลินทรีย์ จะหลั่งสารที่มีลักษณะเป็นยางเหนียวซึ่งช่วยให้โครงสร้างของดินที่กระจายตัวยึดอนุภาคต่างๆเข้าด้วยกัน ทำให้ดินร่วนและโปร่งอากาศ สารพิษเช่นธาตุโลหะหนักต่างๆ และธาตุอาหารที่มากเกินใช้ของพืชจะถูกกันไม่ให้เกิดพิษร้ายหรือออกฤทธิ์ได้โดยวิธีผนวกเข้ากับโมเลกุลสารอินทรีย์เชิงซ้อนของฮิวมัสและขณะเดียวกันก็ช่วยป้องกันไม่ให้สารดังกล่าวแพร่เข้าสู่ระบบนิเวศที่กว้างออกไปกว่าเดิม
9. สารสีเข้มของฮิวมัส(โดยปกติจะมีสีดำหรือน้ำตาลดำ)ช่วยให้ดินอุ่นขึ้นในฤดูใบไม้ผลิ
เอกสารอ้างอิง:
HUMUS: 2008/9 Schools Wikipedia Slection. Related subjects :Geology and geophysics
Retrieved from “ http://en. Wikipedia.org/wiki/Humus”







   ท่านสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ 


โทร      : 088  415  9468

ID Line  : 0884159468non
                           E-mail : cmenzymenano@gmail.com